Best Seller

Design of Temporary Sheet Pile System For Bangkok Soil

คุณสมบัติสินค้า:

Design of Temporary Sheet Pile System For Bangkok Soil (การออกแบบระบบค้ำยันชั่วคราวแบบเข็มพืดเหล็กสำหรับดินกรุงเทพฯ) โดย ผศ.ดร.พิธาน ไพโรจน์ เป็นหนังสือที่นำความรู้พื้นฐานด้านปฐพีกลศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบระบบค้ำยันชั่วคราวแบบเข็มพืดเหล็ก โดยความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมธรณีเทคนิค ซึ่งประกอบด้วย เจาะสำรวจดิน, หน่วยแรงของดิน รวมถึงกำลังรับแรงเฉือนของดิน นำมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ และก่อสร้างทางวิศวกรรมธรณีเทคนิค อีกทั้งหนังสือเล่มนี้ยังได้เสนอรายละเอียดการออกแบบระบบค้ำยันเข็มพืด และขั้นตอนการก่อสร้างถังเก็บน้ำดีและระบบน้ำเสียขุดลึกประมาณ 3.7 เมตร

Share

โดยเนื้อหาด้านในประกอบด้วย

บทที่ 1 ระบบค้ำยันสำหรับงานชุด

1.1 ระบบกำแพงกันดินแบบยืดหยุ่น

1.2 ระบบกำแพงกันดินแบบแข็ง

บทที่ 2 หน่วยแรงดันดินทางด้านข้าง

2.1 การวิเคราะห์หน่วยแรงดันดินทางด้านข้างแบบสถิต

2.2 การวิเคราะห์หน่วยแรงดันดินทางด้านข้างโดยหลักการของ Rankine

2.3 การวิเคราะห์หน่วยแรงดันดินโดยใช้ไดอะแกรมขอบเขตของหน่วยแรงดัน

2.4 บทสรุป

บทที่ 3 เสถียรภาพสำหรับงานขุดดิน

3.1 การหาเสถียรภาพของก้นหลุมโดย Teng

3.2 การหาเสถียรภาพของก้นหลุมโดย Terzaghi

3.3 การหาเสถียรภาพของก้นหลุมโดย Bjerrum and Eide

3.4 พฤติกรรมการเคลื่นตัวของดินในงานขุด

3.5 บทสรุป

บทที่ 4 การออกแบบระบบค้ำยันเข็มพืด 

4.1 ระบบค้ำยันเข็มพืด  

4.2 พฤติกรรมการถ่าย-รับแรงของระบบค้ำยันเข็มพืด  

4.3 การออกแบบเข็มพืด

4.5 การออกแบบคาน

4.6 การออกแบบค้ำยัน

4.7 การออกแบบเสาหลัก

4.8 การออกแบบคอนกรีตหยาบ

4.9 การอัดแรงในค้ำยัน

บทที่ 5 การวิเคราะห์และออกแบบระบบค้ำยันเข็มพืดเหล็ก

5.1 ลักษณะชั้นดิน และคุณสมบัติของชั้นดิน

5.2 ระดับค้ำยัน

5.3 แรงดันดินด้านข้างปรากฏที่เกิดขึ้น และแรงในค้ำยันแต่ละชั้น

5.4 การออกแบบเข็มพืดเหล็ก

5.5 การคำนวณและการออกแบบคาน

5.6 การวิเคราะ์และการออกแบบค้ำยัน

5.7 การวิเคราะ์และการออกแบบเสาหลัก

5.8 การออกแบบระบบการอัดแรงในค้ำยัน

5.9 การออกแบบคอนกรีตหยาบ

5.10 การพยากรณ์การเคลื่อนตัวด้านข้างของเข็มพืด

5.11 บทสรุป

บทที่ 6 รายละเอียดการออกแบบระบบค้ำยันเข็มพืด และขั้นตอนการก่อสร้างถังเก็บน้ำดี และระบบน้ำเสียขุดลึกประมาณ 3.7 เมตร โครงการก่อสร้างอาคารเรียนและปฎิบัติการ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

6.1 โครงการ

6.2 ลักษณะโครงการ

6.3 ลักษณะชั้นดินและคุณสมบัติของชั้นดิน

6.4 ระดับค้ำยัน

6.5 แรงดันดินด้านข้างปรากฎที่เกิดขึ้น และแรงในค้ำยันแต่ละชั้น

6.6 ออกแบบเข็มพืดเหล็ก

6.7 การคำนวณการออกแบบคาน

6.8 การวิเคราะห์และการออกแบบค้ำยัน

6.9 การวิเคราะห์และการออกแบบ King Post 

6.10 การออกแบบระบบการอัดแรงในค้ำยัน

6.11 การออกแบบคอนกรีตหยาบ

6.12 การพยากรณ์การเคลื่อนตัวด้านข้างของเข็มพืด

6.13 บทสรุป

บทที่ 7 รายละเอียดการออกแบบระบบค้ำยันแบบพืด โครงการก่อสร้างฐานรากป้ายศูนย์การค้า IKEA บางนา ขุดลึกประมาณ 4 เมตร

7.1 โครงการ

7.2 ลักษณะโครงการ

7.3 ลักษณะชั้นดิน และคุณสมบัติของชั้นดิน

7.4 ระดับค้ำยัน

7.5 แรงดันดินด้านข้างปรากฎที่เกิดขึ้น และแรงในค้ำยันแต่ละชั้น

7.6 ออกแบบเข็มพืดเหล็ก

7.7 การคำนวณการออกแบบ Wale

7.8 การวิเคราะห์และการออกแบบ Strut

7.9 การออกแบบระบบ Preload ใน Strut

7.10 การออกแบบ Lean Concrete

7.11 การพยากรณ์การเคลื่อนตัวด้านข้างของเข็มพืด

7.12 บทสรุป

 



 

Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้